หลักสูตร Analyzing and Troubleshooting with Wireshark (Wireshark Level1)

บจ.จีเนียสย์ ดีเวลลอป
ez-admin training center

082-5674413, 095-8635165
contact@ez-admin.com

หลักสูตร Analyzing and Troubleshooting with Wireshark (Wireshark Level1)

หลักสูตร Analyzing and Troubleshooting with Wireshark (Wireshark Level1)

อบรม 2 วัน ราคา 5,500 บาท 

(ตรวจสอบระบบ วิเคราะห์แพ็กเก็ต และแก้ปัญหาของระบบเครือข่ายให้ตรงจุดด้วย Wireshark)

หลักสูตรเริ่มต้นสำหรับผู้ดูแลระบบที่ต้องการใช้งาน Wireshark เพื่อตรวจสอบ วิเคราะห์ และแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่ายได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ เช่น หาสาเหตุความล่าช้าของระบบ การเชื่อมต่อเครือข่ายหรือเซิร์ฟเวอร์ไม่ได้ ระบบเครือข่ายถูกโจมตี หรือต้องการตรวจสอบช่องโหว่ในระบบ เป็นต้น โดยหลักสูตร Wireshark มีรายละเอียดดังนี้

  1. รู้จัก Wireshark และรูปแบบการเชื่อมต่อเพื่อดักจับข้อมูลในระบบเครือข่าย
    • รู้จัก Wireshark
    • Wireshark ช่วยตรวจสอบอะไรได้บ้าง
    • รูปแบบการเชื่อมต่อ Wireshark ในระบบเครือข่าย
    • ประโยชน์ของการทำ Network Visibility
    • ประเภทของโปรแกรม Network Monitor
    • ความสามารถของ Wireshark
  2. กำหนดค่าการทำงานของ Port Mirroring ใน Switch ยี่ห้อต่างๆ
    • การเปิดโหมด Span ใน Switch ของ Cisco
    • การกำหนด Port Mirroring ใน Unifi Switch
    • การกำหนด Port Mirroring ใน Ubiquiti EdgeRouter
    • การกำหนด Port Mirroring ใน Mikrotik
    • การกำหนด Port Mirroring ใน HP
    • ข้อควรระวังในการทำงานของ Port Mirroring
  3. การติดตั้งและใช้งานโปรแกรม Wireshark เบื้องต้น
    • การติดตั้งโปรแกรม Wireshark
    • เริ่มต้นใช้งานและรู้จักส่วนประกอบสำคัญของ Wireshark
    • หัวข้อต่างๆ ใน Packet List Pane
    • รู้จักกับสัญลักษณ์ต่างๆ ของ Related Packets Indicator
    • การกำหนดค่า Capture Options
    • การ Export File สำหรับตรวจสอบข้อมูลภายหลัง
    • การสร้าง Profile เพื่อกำหนดสภาพแวดล้อมการทำงานของโปรแกรมตามที่ต้องการ
  4. ทบทวนเรื่องของ TCP/IP Model 5 Layer และพื้นฐานการทำงานของ TCP
    • TCP/IP Model 5 Layer
    • การทำงานของ TCP
    • 3-Way Handshake
    • สถานะของ TCP Flags
    • Window Size และการ Sliding Window
    • การทำงานของ UDP
  5. พื้นฐานการวิเคราะห์แพ็กเก็ตของ Wireshark
    • การสร้างภาพระบบเครือข่ายจากการวิเคราะห์แพ็กเก็ต
    • การใช้ Wireshark ดักจับรหัสพาสเวิร์ดและตรวจสอบข้อมูลต่างๆ ในแพ็กเก็ต
    • การวิเคราะห์แพ็กเก็ตแบบแยกส่วนต่างๆ (Dissect a Packet)
    • การวิเคราะห์แพ็กเก็ตการทำงานเบื้องต้นของ TCP
    • การวิเคราะห์แพ็กเก็ตของ Services ต่างๆ ที่สำคัญของระบบเครือข่าย เช่น ARP, DNS, HTTP, FTP, DHCP และ RDP
  6. ตรวจสอบความผิดปกติของการติดต่อสื่อสารกันในระบบเครือข่าย
    • ตรวจสอบคุณสมบัติและรายละเอียดของ Trace File
    • การใช้ Converstation ตรวจสอบสถิติของการติดต่อสื่อสารกันระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทาง
    • แท็บ Ethernet
    • แท็บ IPv4
    • แท็บ IPv6
    • แท็บ TCP
    • แท็บ UDP
    • การอ่านค่า Relative Start และ Duration เพื่อหาความผิดปกติ
    • การใช้ Expert Info ตรวจสอบความผิดปกติของระบบเครือข่าย
    • สัญญาณเตือนถึงความผิดปกติที่ควรตรวจสอบ
  7. การคัดกรองข้อมูลที่ต้องการดักจับหรือให้แสดงผลด้วย Capture Filter และ Display Filter
    • การคัดกรองข้อมูลที่ต้องการดักจับด้วย Capture Filter
    • Capture Filter ที่ใช้งานบ่อย
    • การคัดกรองข้อมูลที่ต้องการแสดงผลด้วย Display Filter
    • Display Filter ที่ใช้งานบ่อย
    • การทำ Display Filter ในส่วนต่างๆ ของ Wireshark
    • การสร้างปุ่ม Display Filter ที่ใช้งานบ่อยเพื่อสะดวกในการใช้งาน
    • การประกอบแพ็กเก็ตที่แยกส่วนจากแอปพลิเคชั่นต่างๆ กลับมาเป็นแพ็กเก็ตที่สมบูรณ์อีกครั้ง
  8. วิเคราะห์และตรวจสอบปัญหาการทำงานของระบบเครือข่าย
    • วิเคราะห์ปัญหา Server และโปรโตคอล HTTP ตอบกลับล่าช้า
    • วิเคราะห์ปัญหาการเกิด TCP Retransmission และกฏของการจัดลำดับสี (Coloring Rules)
    • วิเคราะห์ปัญหา DNS Server ตอบสนองต่อการร้องขอข้อมูลล่าช้า (DNS Response Time)
    • วิเคราะห์ปัญหาการเกิด Broadcast Storm หรือ ARP Storm
    • วิเคราะห์ปัญหาจากการสูญเสียแพ็กเก็ต (Packet Loss)
    • วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากความแออัดของระบบเครือข่าย (Network Congestion)
    • วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากความล่าช้าของแอปพลิเคชั่นที่ใช้งาน (Application Response Time)
    • วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากเครื่อง Server ไม่พร้อมให้บริการ (Busy Servers)
    • วิเคราะห์การทำงานของ TCP และโปรโตคอลสำคัญที่เกี่ยวข้องในการติดต่อกับเครื่อง Server (TCP Protocol Issues)
  9. การสร้างกราฟจากแพ็กเก็ตทั้งหมดเพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบข้อมูลและวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ
    • การสร้าง I/O Graph เพื่อเปรียบเทียบความเร็วในการตอบสนองข้อมูลของแอปพลิเคชั่นต่างๆ
    • การสร้าง TCP Stream Graphs แสดงภาพการเคลื่อนที่ของแพ็กเก็ตเพื่อความผิดปกติที่เกิดขึ้นของระบบเครือข่าย
    • การสร้าง Throughput Graphs แสดงภาพความเร็วการโอนถ่ายข้อมูลเพื่อตรวจสอบปัญหาความล่าช้าในระบบเครือข่าย

 จบหลักสูตรแล้วได้อะไร?

  • สามารถวิเคราะห์ ตรวจสอบ และแก้ปัญหาของระบบเครือข่ายขนาดเล็กและกลาง ในระดับพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธภาพ
  • สามารถนำไปประกอบอาชีพด้าน ผู้ดูแลระบบเครือข่ายในระดับ Engineer หรือผู้วิเคราะห์และตรวจสอบการทำงานของระบบเครือข่าย เป็นต้น

คลิกดาวน์โหลดคอร์ส wireshark